WHAT TO SAY ART IS ART
![]() |
ที่มาของภาพ : http://www.wurkon.com/full/researchs/marcel-duchamp/ |
อะไรก็เป็นศิลปะ ข้อสงสัยเกิดขึ้นช่วงปลายศตวรรษที่ 19
ได้มีการหาแนวทางใหม่ๆ มาสร้างสรรค์งานศิละปะ และยุคนี้มีวัตถุดิบทางอุตสาหกรรม
ผลผลิตทางอุตสหกรรม ซึ่งมีศิลปินกลุ่มหนึ่งหนึ่งได้หยิบฉวนรูปทรง
สิ่งของที่เหล่านี้มาทำงานด้วย เช่น โถ้ฉี่ แอปเปิ้ล หรือสิ่งของที่ใช้ในชีวิตประจำวันหยิบยกมาเป็นผลงานศิลปะ โดยการนำสิ่งของนี้มาตั้งในพิพิธภัณฑ์ จึงเกิดคำถามขึ้นว่า “อย่างนี้ก็เป็นผลงานศิลปะได้ด้วยหรอ” และเกิดการตีในปัจจุบันว่า “แล้วอะไรคืองานศิลปะ หรือทุกอย่างในชีวิตคืองานศิลปะ” สิ่งเหล่าเรียกว่าเป็นนานาจิตตัง ซึ่งขึ้นแต่ละบุคคล แต่สิ่งเหล่าขึ้นอยู่กับเป้าหมายของศิลปินหรือบุคคลเหล่านั้นมากว่าว่าอะไรคือศิลปะ
ซึ่งสิ่งของเหล่านั้นมีตัวตนอยู่แล้ว
ขึ้นอยู่กับศิลปินหรือบุคคลจะบวกอะไรเข้ากับสิ่งของนั้น ซึ่งอาจจะเป็นแนวคิด
หรือมุมมอง สิ่งของเหล่านั้นก็จะเปลี่ยนความหมายจากของธรรมดาทั่วไปก็กลายเป็นผลงานศิลปะ
งานประติมากรรมที่ทำอยู่นั้นได้มีการใช้สัญญาลักษณ์หลายๆ
อย่างที่คนทั่วไปใช้กัน เช่น Like , Un Like ซึงได้หยิบสัญญาลักษณ์เหล่านี้มาสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ
เป็นการหยิบยืมรูปทรงสัญญาลักษณ์ที่เป็นที่นิยม โดยการสื่อความหมายของมือที่ตรงใจ
และเข้าใจง่าย
อาจารย์ เปี่ยมจันทร์ บุญไต
จิตกรรม เพาะช่าง
![]() |
ที่มาของภาพ : https://www.facebook.com/chubnokkaew |
“ศิลปะต้องสูงค่า มีปรัชญา
ต้องถูกการกลั่นกรองมาเยอะมากกว่าจะมาเป็นผลงานให้เราได้ชมกัน” จากความคิดของทั่วไป พอได้เรียนรู้ก็พบว่า “ศิลปะมันคือชีวิต” ซึ่งปัจจุบันเราจะเห็นว่าศิลปินใช้อะไรง่ายๆ
ที่เข้าใจง่ายมาเป็นงานศิลปะ เอาสิ่งที่มีในชีวิต
แม้แต่สิ่งที่ใช้ในชีวิตความคิดก็มาเป็นงานศิลปะโดยมีเป้าหมาย จะเป็นศิลปะได้ก็ต่อเมื่อบุคคลเหล่านั้นเข้าใจมัน
ตอนนี้ทำงาน Panting เกี่ยวกับวาทกรรทในสังคมได้แรงบรรดารใจมาจากภาษาไทยของเรา
จากที่สังเกตุในประเทศไทยในสังคมจากสื่อต่างๆ สังคมต่างๆ หรือในโลกออนไลน์ก็ตาม
ซึ่งเรามีความกำกวมในภาษาเยอะมาก และความกำกวมทำภาษาและความเข้าใจเราผิดเพี้ยนไป
ซึ่งได้ความกำกวมหรือความผิดเพี้ยนมาแปลค่าและนำมาทำงานศิลปะ
อติชาติ วัฒนาพิเชษฐ์พงษ์
Painter , Freelance
illustrator